7 สารป้องกันกำจัดเชื้อราก่อโรครากเน่าโคนเน่าที่ชาวสวนทุเรียนควรรู้
7 สารฆ่าเชื้อราก่อโรครากเน่าโคนเน่าทุเรียน ที่ชาวสวนทุเรียนควรรู้ ช่วยป้องกันกำจัดเชื้อราก่อโรคในดินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การจัดการเชื้อราก่อโรค การใช้สารเคมีกำจัดโรคพืช
7 สารฆ่าเชื้อราก่อโรครากเน่าโคนเน่าทุเรียน ที่ชาวสวนทุเรียนควรรู้ ช่วยป้องกันกำจัดเชื้อราก่อโรคในดินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ต้นกัญชา หรือพืชตระกูลกัญชา เป็นโรครากเน่าโคนเน่า ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อราก่อโรค 2 ชนิดนี้ ได้แก่ Pythium และ Fusarium.
ยาแก้โรคราน้ำค้าง มีทั้งประเภทอินทรีย์และสารเคมีแต่ละประเภทก็มีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันไป การเลือกใช้ยา ราน้ำค้าง ให้เหมาะกับสถานการณ์กับการระบาดของโรคราน้ำค้าง มีความสำคัญต่อการลดความเสียหายที่เกิดขึ้นจากโรคราน้ำค้าง
ราน้ำค้าง (Downy mildew)โรครานํ้าค้าง พบทั่วไปในแหล่งปลูกต่างๆ ที่มีความชื้นสูง เป็นโรคที่ระบาด ทำความเสียหายได้มาก โรคเกิดได้ทั้งที่ใบ ผล กิ่งก้านต่างๆ
รวมวิธีใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาสด การฉีดพ่น การผสมน้ำรดลงดิน การคลุกเมล็ดพันธุ์พืช การแช่ท่อนพันธุ์ต่างๆ
รวมวิธีใช้เชือราไตรโคเดอร์มาควบคุมโรคพืชแต่ละชนิด การเลือกวิธีใช้ให้เหมาะสมช่วยลดการเกิดโรคในพืช
วิธีการเก็บเชื้อไตรโคเดอร์มาสด โดยผสมกับปุ๋ยคอก จะช่วยให้เชื้อสดเก็บได้นานมากกว่า 4 เดือนโดยไม่ต้องแช่เย็น
ไตรโคเดอร์มาแต่ละชนิด มีจุดเด่น จุดด้อยที่แตกต่างกัน มีหลักเกณฑ์เลือกใช้อย่างไร ให้ได้ผลดีที่สุด
เคล็ดลับใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาควบคุมเชื้อราไฟทอปธอร่า สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน
ไตรโคเดอร์มา คืออะไร ทำไมต้องใช้ ใช้แล้วได้อะไร เราจะใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาช่วยควบคุมโรคพืชอะไรได้บ้าง